ข้อมูลงานวิจัย

 ชื่อเรื่อง  การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการใช้ซอฟต์แวร์ในการแก้ปัญหาและพฤติกรรมการทำงานของกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD
 เจ้าของผลงาน  นางสาวจิราวรรณ ทรงพระ
 ปีการศึกษา  2564
 ประเภท  วิทยานิพนธ์
 คณะ  คณะศึกษาศาสตร์
 หลักสูตร  ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
 สาขา  หลักสูตรและการเรียนการสอน
 จำนวนหน้า  267 หน้า
 บทคัดย่อ (Abstract)  
งานวิจัยนี้มีวัดอุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการใช้ชอฟต์แวโม
การมก็ปัอาขอะนักเรือนชั้นประถมตีกาษกให้ 5 โตยใช้การจักกรรมวันรถมือหมืด 514ปี
เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 75 และ 2) ศึกษาพฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
โรงเรียนวัดบ้านกะหาด ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 16 คน ได้มาโดย
วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) รูปแบบการวิจัยใช้แบบกลุ่มเดียววัดผลหลังเรียน
(One-Shot Case Study) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการใช้
ชอฟต์แวร์ในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
เทคนิค STAD ประเป็นความเหมาะสมโดยใช้มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเหมาะสมระดับ
มากที่สุด ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.90 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการใช้ชอฟต์แวร์ใน
การแก้ปัญหา เป็นข้อสอบแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.80
ถึง 1.00 ค่าความยากง่าย (p) ตั้งแต่ 0.45 ถึง 0.79 ค่าอำนาจจำแนก (B) ตั้งแต่ 0.29 ถึง 0.78
ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ คำนวณโดยใช้วิธีของโลเวท (r.-) เท่ากับ 0.83 และ 3) แบประเมิน
พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เป็นแบบรั้งภพพพฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนั้นของมีเรีย ต้าน ด้าน ต้าน
ความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม ด้านการให้ความช่วยเหลือเพื่อนในกลุ่ม และด้านการแสดงความ
คิดเห็นขณะทำงานกลุ่ม ค่า IOC ตั้งแต่ 0.80 ถึง 1.00 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ
คำเอลี่ย ๕0 ส่วนเบื่อรรรรถมาควฐาน (5.) และสติทิพศศพเศษที่ (t-for one sample)
ผลการวิจัยพบว่า
1.ผลสัมฤทธิ์พางการเรียนเรื่องการใช้ขอฟด์แวร์ไนการแก้ปัหาของมักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่าง
มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. พฤติกรรมการทำหามหลุ่มของนักเรียบชั้นประผมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้
แบบร่วมมือเทศนิค STAD อยู่ในระดับดีขึ้นไปโลยละ 100 ทั้ง 3 ด้าน

เอกสารฉบับเต็ม (Full)



เฉพาะสมาชิกเท่านั้น