การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความรธรรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสร้างเสริม สุขภาพและป้องกันโรคของประชาชนที่เคยติดโรคโควิต-19 อำเภอเทพารักษ์ จังหวัดนครราชสีมา ตัว แปรที่ศึกษา คือ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคโควิต-19 กลุ่ม ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อหา ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความสัมพันธ์ โดยใช้สถิติ Chi-Squareและเพียร์สัน (Pearson product moment correlation coefficient) ผลการศึกษา พบว่า 1. ประชาชนที่เคอคิดโรคโควิต - 19 อำเภอเทพารักษ์ จังหวัครราชดีมา มีความรอบรู้ ด้านสุขภาพ ได้แก่ ความรู้ความเข้าใจ คะแนน ร้อยละ 11.11 (SD-15.93) ระดับปรับปรุง การ ตัดสินใจเลือกปฏิบัติ คะแนนเฉลี่ย 3.97(5D.0.57) ระดับดี การเข้าถึงบริการบริการสุขภาพ การ สื่อสารเพิ่มความเชี่ยวชาญการจัดการเงื่อนไขการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ และพฤติกรมสร้าง เสริมสุขภาพและป้องกันโรค คะแนนเฉลี่ย 4.02 4.12 4.02 4.13และ3.69 (SD.0.66 0.55 0.59 0.53 และ0.43) ระดับดีมาก 2. ประชาชนที่เคยติดโรคโควิต - 19 อำเภอเทพารักษ์ จังหวัตนครราชสีมา อาชีพ รายได้/ เดือน ระยะเวลากักตัว และการได้รับวัคขึ้น มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ประชาชนที่เคยติดโรคโควิต - 19 อำเภอเทพารักษ์ จังหวัตนครราชสีมา ที่มีการเข้าถึง บริการสุขภาพ การสื่อสารเพิ่มความเชี่ยวชาญ การจัดการเงื่อนไข การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ และการตัดสินใจเลือกปฏิบัติ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
4. ประชาชมที่เคยคิดโรคโควิต - 19 อำนาลเทพารักษ์ จังหวัดนครราชสีมาที่มีความรู้ความรู้ความ! เข้าใจ มีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 |