การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา ไรคควรรรที่ 21 ตามความคิดเห็นของผู้บวิหารรถานศึกษกและครัสร้วันวันนั้นที่นที่ ขนาครองรมารศึกษา กลุ่มตัวอย่างขึ้นการใจครั้งหนี้ ได้แก่ ผู้บริหรรรรรถานเหญ่ถสมาม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2564 จำนวน 348 คน โดยกำหนดกลุ่ม ตัวอย่างตามตารางของ เครจชี้และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) เลือกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่ม ส่วนประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทตสอบค่าที (t-test) แบบ Independent samples และค่าเอฟ (F-test Oneway- ANOVA) และพดเรือบความแตกต่างของห่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ โดยวิธีการของ เขฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการวิเครามพ์มรรถนะผู้บวิหารสถานศึกษาในศตรรรษที่ 21 สังกัดสำหล พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายต้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ทักษะด้านการคิดวิเคราะห์และการคิดสร้างสรรค์ รองลงมา ได้แก่ สมรรถนะด้านเทคโนโลยีและการใช้ดิจิตอล และสมรรถนะด้านมนุษยสัมพันธ์ ส่วน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือสมรรถนะด้านการสื่อสาร 2. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตาม ตำแหน่ง ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาตของสถานศึกษา 2.1 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตามตำแหน่ง โดยรวมและละรายด้านไม่ แตกต่างกัน
2.2 ผลการมิคราะห์เปรียบเทียนรรถนมผู้บริหารสถานศึกษาในศควรรรษที่ 21 สังกัด ต้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.3 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตามประสบการณ์ทำงางาน โดยรวมไม่ แตกต่างกัน ยกเว้นสมรรถนะต้านการสื่อสาร สมรรถนะด้านการคิดวิเคราะห์และการคิดสร้างสรรค์ และสมรรถณะต้าน มนุหกชั้นพันธ์ มีความแต่กต่างกันอย่างน้ำก็สำคัญทางให้มีที่ที่ที่ที่ที่ดีที่วิ 2.4 ผลกรรมคราะห์เปรียนเทียบธมรรถนมผู้บวิหารสถานศึกษาในศพรรษที่ 21 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตามขนาดสถานศึกษา โดยรวมต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นสมรรถนะด้านการคิดวิเคราะห์และด้านการคิด สร้างสรรค์ ไม่แตกต่างกัน |