การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ (1] เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรู้ เรื่องการอ่านจับใจความ ภาษาไทย โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบชุดฝึกของนักเรียนระดับชั้บชั้บชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80:80 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน จากการจัดการเรียนรู้ เรื่องการอ่านจับใจความภาษาไทย โดยการเรียนรู้แบบ ร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบชุดฝึกของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ (3) เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 80 จากการจัดการเรียนรู้ เรื่องการ อ่านจับใจความภาษาไทย โดยการเรียนรู้แบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบชุดฝึกของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 การออกแบบการวิจัยเชิงทดลองที่ใช้คือ One Group Per-test Post- test Design กลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านแห่ ประชานุเคราะห์ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ซึ่งเรียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 16 คน ที่ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ใน การศึกษาคือ แผนการจัดการเรียนรู้ ร่วมกับแบบฝึกการอ่านจับใจความสำคัญ จำนวน 6 แผน และ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 30 ข้อ ที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามกับ จุดประสงค์ (IOC) มีค่าตั้งแต่ 0.60 - 1.00 และแบบทดสอบหลังเรียนมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.84 โดยใช้วิธี Kuder Richardson 20 (KR-20) ค่าความยาก (p) ตั้งแต่ 0.50-0.67 และค่าอำนาจจำแนก (r) ตั้งแต่ 0.33-0.50 รูปแบบการวิจัยใช้ One Group Per-test Post-test Design สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t - test (dependent sample).
ผลการศึกษาพบว่า 1. ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบแบบฝึกการอ่านจับ ใจความสำคัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพ (Eg : E>) ค่าเท่ากับ 80.90 : 85.63 ซึ่งลูกว่ามพ์ 80 : 80 เป็นไปตานสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งที่ตั้งที่ตั้ง 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ เรื่องการอ่านจับใจความภาษาไทย โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบชุดฝึกของ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 เป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้ 3. ผลรัมฤทธิ์ทางการเรียบของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนไร้การจัดการจัดการรียนรู้ เรื่องการอ่านจับใจความภาษาไทย โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบชุดฝึกของ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 เป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้ |