การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการจัดการเรียนรู้รูปแบบการเรียนแบบร่วเมือ เทคนิค STAD 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายและสิทธิมนุษยชน ระหว่าง ก่อนเรียนเทียบกับหลังเรียน และหลังเรียนเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 80 และ 3) เพื่อศึกษาความพึง พอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 โรงโรงเรียนอนุบาลโคกใหม่ละหานทราย จังหวัด บุรีรัมย์ ซึ่งได้มาจากการการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ได้จำนวนนักเรียน 30 30 คน เครื่องมือที่ไช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้แบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง กฎหมายและสิทธิมนุษยชน (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีค่าความสอดคล้องระหว่าง ข้อสอบกับจุดประสงค์ ตั้งแต่ 0.60-1.00 โดยมีค่าความยากง่าย (p) อยู่ระหว่าง 0.23 - 0.67 และค่า อำนาจจำแนก (r) อยู่ระหว่าง 0.20 - 0.7.3 คำความเชื่อมั่นของ Lovett เท่ากับ 0.84 และ (3)แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD แบบมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.60-0.80 โดยมีค่าความเชื่อมั่น (Ct) เท่ากับ 0.82 สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูลคือ คำเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเมาตรฐาน และค่างวัติที่ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง กฎหมายและสิทธิมนุษยชน มีทั้งหมด 7 ขั้น ดังนี้ ขั้นที่ 1 แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ขั้นที่ 2 ทดลอบก่อนเรียน ชั้นที่ 3 ทบทวน ความรู้เดิม ขั้นที่ 4 กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นที่ 5 แบ่งกลุ่มคละความสามารถ ชั้นที่ 6 วัดและ ประเมินผล ขั้นที่ 7 คิดคะแนนความก้าวหน้าและให้รางวัล มีคะแนนความก้าวหน้าเฉลี่ย 19.33 (คะแนน
เต็ม 30) อยู่ในระดับ ดี(Good) มีกลุ่มที่ได้ระดับดีมาก (Great Tearn) 3 กลุ่ม ระดับดี (Good Team) 3 กลุ่ม 2.ผลลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติติที่ระดับ .01 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติติที่ระดับ .01 4. นักเรียนมีความพึงพอใจของต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง กฎหมาย และสิทธิมนุษยชน มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวมเท่ากับ 4.49 คะแนน มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก |