การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา ในศตวรรษที่ 21 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สถน สังวัดทั้งที่ การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตาม ตำแหน่ง ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และ ขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ใน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2564 จำนวน 348 คน โดยกำหนดกลุ่ม ตัวอย่างตามตารางของ เครจซีและมอร์แกน (Krejcie & Morpan) เลือกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่ม แบบง่าย (Sample Random Sampline) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม แบบมาตรา ส่วนประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) แบบ Independent samples และค่าเอฟ (F-test Oneway- ANOVA) และทดสอบความแต่กต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ โดยวิธีการของ เทฟเฟ้ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาในศดวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ทักษะด้านการคิดวิเคราะห์และการคิดสร้างสรรค์ รองลงมา ได้แก่ สมรรถนะต้านเทคโนโลยีและการใช้ดิจิตอล และสมรรถนะด้านมนุษยสัมพันธ์ ส่วน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือสมรรถนะด้านการสื่อสาร 2. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาในศดวรรษที่ 21 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตาม ดำแหน่ง ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดของสถานศึกษา 2.1 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตามตำแหน่ง โดยรวมและรายด้านไม่ แตกต่างกัน
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา ในศตวรรษที่ 21 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สถน สังวัดทั้งที่ การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตาม ตำแหน่ง ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และ ขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ใน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2564 จำนวน 348 คน โดยกำหนดกลุ่ม ตัวอย่างตามตารางของ เครจซีและมอร์แกน (Krejcie & Morpan) เลือกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่ม แบบง่าย (Sample Random Sampline) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม แบบมาตรา ส่วนประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) แบบ Independent samples และค่าเอฟ (F-test Oneway- ANOVA) และทดสอบความแต่กต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ โดยวิธีการของ เทฟเฟ้ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาในศดวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ทักษะด้านการคิดวิเคราะห์และการคิดสร้างสรรค์ รองลงมา ได้แก่ สมรรถนะต้านเทคโนโลยีและการใช้ดิจิตอล และสมรรถนะด้านมนุษยสัมพันธ์ ส่วน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือสมรรถนะด้านการสื่อสาร 2. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาในศดวรรษที่ 21 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตาม ดำแหน่ง ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดของสถานศึกษา 2.1 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตามตำแหน่ง โดยรวมและรายด้านไม่ แตกต่างกัน |