ข้อมูลงานวิจัย

 ชื่อเรื่อง  ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลัง 5 ขั้นตอนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 เจ้าของผลงาน  นางสาวฐิติมา บุญเพ็ง
 ปีการศึกษา  2564
 ประเภท  วิทยานิพนธ์
 คณะ  คณะศึกษาศาสตร์
 หลักสูตร  ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
 สาขา  หลักสูตรและการเรียนการสอน
 จำนวนหน้า  172 หน้า
 บทคัดย่อ (Abstract)  
วัตถุประสงค์ของการจัดคือ (1] เพื่อเปรียบเทียผลสัมฤทธิ์พางการรียรยนชั้นชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลัง 5 ขั้นตอน ก่อนเรียนกับ
หลังเรียน (2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลัง 5
ขั้นตอน (3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในการออกแบชิ้นงาน
โดยประยุกต์ใช้ความรู้ เรื่อง กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กับเกณฑ์ร้อยละ 80 และ (4)
เพื่อศึกษาพฤติกรรมทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการเรียนเรื่อง กลไก
ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น ที่จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลัง 5
ขั้นตอน กลุ่มตัวอย่างการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนสามโคก สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี จำนวน 1 ห้องเรียน ทั้งหมด 40 คน
ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลัง 5 ขั้นตอน จำนวน 5 แผน (2) แบบทตสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ (3) แบบวัดความสามารถ
ในการออกแบบชิ้นงาน และ(4) แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนของนักเรียนในระหว่างเรียน สถิติ
วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทตสอบที (dependent
sample, one sample) Anwittils:)
ผลการศึกษาพบว่า
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการถยมของหนักเรียนชั้นนั้นเศึกษาปีที่ 1 ที่จัดการรนยมรู้ตามแมวคิด
การถึกข์รู้ใจคุณธธรรมพลัง 5 ขั้นตอน หลังวัหธเว่กว่าก่อนเท่านอร์ใช้สำคัญทางที่ดีที่ เทัย
.05
2. ดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลัง 5
ขั้นตอน มีค่าเท่ากับ 0.74 ซึ่งแสดงว่า นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น 0.74 (หรือยละ 74)
3. คะแมนความสามารถของมักเรือชั้นชั้นศึกษกษาปีที่ 1 ไมการออกแบบชิ้นรามโดย
ประบุกติใช้ความรู้ ถืองกลใกไฟฟ้า และก็เด็กพรอร์เห็นใครต้น สูงท่านกนจร้อยละ อย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4. ผลการประเมินพฤติกรรมทางการเรียน ด้านความพยายามในการเรียนรู้และด้าน การยอมรับ
เพื่อนในกลุ่ม สู่พื้นอย่างน้อย 1 รมดับ จำนวน 3ติ คน คือเป็นกันกันกัน นอยพัาน การณีที่ช่าน การมมมม
ในการปฏิบัติใจกรรมการเข้มรู้และด้านกาให้ความช่วยเหมือนพื่คนในกลุ่ม สูงขึ้นอย่างน้อย 1 ระทัยยม
จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100

เอกสารฉบับเต็ม (Full)



เฉพาะสมาชิกเท่านั้น