ข้อมูลงานวิจัย

 ชื่อเรื่อง  ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 วิทยาลัยเทคนิคนางรอง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา
 เจ้าของผลงาน  นายระพินทร์ พลสงคราม
 ปีการศึกษา  2565
 ประเภท  วิทยานิพนธ์
 คณะ  คณะศึกษาศาสตร์
 หลักสูตร  ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
 สาขา  การบริหารการศึกษา
 จำนวนหน้า  102 หน้า
 บทคัดย่อ (Abstract)  
การวิจัดรั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเพื่อนการผู้น้ำหลังใหญ่บก็หารสหารถานศึกษา
ในศตวรรษที่ 21 วิทยาลัยเทคนิคนางรอง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชั่วศึกษา จำแนกตาม
ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน ประชากร ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติงานในวิทยาลัยเทคนิคนางรอง
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ปีการศึกษา 2564 กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 76 คน
เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า มีค่าความเชื่อมั่นทั้ง
ฉบับเท่ากับ 0.97 สถิติวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ คำร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
t-test และ F-test
ผลการศึกษาพบว่า
1. ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 วิทยาลัยเทคนิคนางรอง สังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน
พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยต้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านสำรวจและสนับสนุนการใช้ ICT
รองลงมา คือ ด้านริเริ่มการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผล และต้านปรับปรุงผลลัพธ์ของผู้เรียบ
ส่วมด้านที่มีค่าเมื่อค่ำสุด คือ คือ ด้านสร็จรือช่ายเพื่อส่งเห็นการยืนรู้และความสำเร็จ
2. ผลการเปรียบเพื่อบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตรรรรรรษที่ 21
ประสบการณ์การทำงาน พบดังนี้
2.1 การเปรีอบเพียบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตรรรรรรษที่ 21
วิทยาลัยเทคนิคนางรอง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำแนกตามต่ำแหน่ง โดย
ภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ข้าราชการครูมีความคิดเห็นว่าผู้บริหาร
สถานศึกษามีภาวะผู้นำในศดวรรษที่ 21 สูงกว่าความคิดเห็นของพนักงานราชการ อย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05
22 การเปรียบเพียบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตรรษที่ 21
วิทยาลัยเทคนิคนางรอง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำแนกตามประสบการณ์
การทำงาน โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ครูที่มีประสบการณ์ทำงาน
11 ปีขึ้นไป มีความคิดเห็นว่าผู้บริหารสถานศึกษามีภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 สูงกว่าความคิดเห็น
ของครูที่มีประสบการณ์ทำงาน ตั้งแต่ 5-10 ปี และประสบการณ์ทำงาน น้อยกว่า 5 ปี อย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

เอกสารฉบับเต็ม (Full)



เฉพาะสมาชิกเท่านั้น