ข้อมูลงานวิจัย

 ชื่อเรื่อง  การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่องการจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต โรงเรียนวัดหนองบัวยอดแก้ว โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5Es)
 เจ้าของผลงาน  นางสาวปิยธิดา คงพล
 ปีการศึกษา  2565
 ประเภท  งานค้นคว้าอิสระ
 คณะ  คณะศึกษาศาสตร์
 หลักสูตร  ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
 สาขา  หลักสูตรและการเรียนการสอน
 จำนวนหน้า  126 หน้า
 บทคัดย่อ (Abstract)  
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สิ่งมีชีวิต เรื่อง การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย
ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน (2) เพื่อเปรียบเทียบ
ผลส้มฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สิ่งมีชีวิต เรื่อง การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5Es) หลังเรียนเทียบกับ
เกณฑ์ร้อยละ 75 ประชากร คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนวัดหนอง
บัวยอดแก้ว อำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 12 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบ
กลุ่ม เครื่องมือการวิจัยคือ (1) แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต สำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนแบบสืบเสาะ 5E จำนวน 5 แผน เวลา 6 ชั่วโมง
และ(2) แบบทตสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต สำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เป็นแบปรนัย จำนวน 10 ข้อ ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก สถิตที่ใช้ใน
การใคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงยนมาตรฐาน และทดสออบค่าที
ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลรัมฤทธิ์ทางการเรือนวิชาวิทยาศาศัตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สิ่งมีชีวิต เรื่อง การจัด
กลุ่มสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
(SEs) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อที่
2. มลรัมฤทธิ์พางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สิ่งมีชีวิต เรื่อง การจัด
กลุ่มสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
(SEs) หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 75 ของคะแนนเต็ม อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติดีที่ระดับ
.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 2

เอกสารฉบับเต็ม (Full)



เฉพาะสมาชิกเท่านั้น