ข้อมูลงานวิจัย

 ชื่อเรื่อง  ผลของโปแกรมการประยุกต์ทฤษฏีส่งเสริมของเพนเดอร์ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ตำบลโนนตูม อำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา
 เจ้าของผลงาน  นางสาวสุพิชญาภรณ์ สุนนท์สถิตกุล
 ปีการศึกษา  2567
 ประเภท  วิทยานิพนธ์
 คณะ  คณะสหเวชศาสตร์
 หลักสูตร  สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
 สาขา  การจัดการสร้างเสริมสุขภาพ
 จำนวนหน้า  180 หน้า
 บทคัดย่อ (Abstract)  
การจับกึ่งพหลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามลขอของปรมการปรปรระยุทต์พฤษฎีที่เดิน
สุขภาพของเพนเตอร์ ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน
ชนิดที่ 2 ตำบลโนนตูม อำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยแบ่งออกเป็น
2 กลุ่ม คือ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 35 คน เป็นกลุ่มทตลอง โดยได้รับ
โปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎีส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ ที่สร้างขึ้น และประชาชนกลุ่มเสี่ยง
โรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 จำนวน 35 คน เข้าร่วมกิจกรรมเป็นกลุ่มควบคุม ได้รับโปรแกรมตามปกติ
โดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampline) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ โปรแกรมการ
ประยุกต์ทฤษฎีส่งเสริมสุขภาพของเพนเตอร์ แบบสอบถาม แบบบันทึกระดับน้ำตาลปลายนิ้ว และ
ดัชนีมวลกาย การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่า
fi (Paired samples t-test was Independent sample t-test)
ผลการศึกษา พบว่า
1. ภายหลังการใต้รับโปรแกรมการประยุกค์ทค์พฤษฎีสุสเสริมสุขภาพของเพนเตอร์ ต่อการ
ปรับเเลื่อนพฤติกรรมทุขภาพ ประชาชนกรุ่นเมื่อเรายวรรมชนิดที่ 2 ตำรถโบบรุม อุนายายพระ
จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มทดลอง มีพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ 3อ2ส ดีขึ้นกว่าก่อนการได้รับ
โปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01
2. ภายหลังการได้รับโปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎีส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ ต่อการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ตำบลโนนตูม อำเภอชุมพวง
จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มทตลอง มีพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ 3อ2ส ดีขึ้นกว่ากลุ่มควบคุม
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
3.ภายพลังการใด้รับโปรปรแกรมการปรมยุกค์พฤษฎีถึงเสริมสุขภ าพของเพนเพนเดอร์ ต่อการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ตำบลโนนตูม อำเภอชุมพวง
จังหวัดนครราชสีมา มีระดับน้ำตาลปลายนิ้ว และตัชนีมวลกาย ดีกว่าก่อนการทตองและดีกว่า
กลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติติที่ระดับ 0.01

เอกสารฉบับเต็ม (Full)



เฉพาะสมาชิกเท่านั้น