ข้อมูลงานวิจัย

 ชื่อเรื่อง  การบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา
 เจ้าของผลงาน  นางสาวปรัชญาภรณ์ หวังอ้อมกลาง
 ปีการศึกษา  2567
 ประเภท  วิทยานิพนธ์
 คณะ  คณะศึกษาศาสตร์
 หลักสูตร  ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
 สาขา  การบริหารการศึกษา
 จำนวนหน้า  79 หน้า
 บทคัดย่อ (Abstract)  
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตาม
ตำแหน่ง ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และขนาดของสถานศึกษา ประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร
สถานศึกษาและครูผู้สอนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาษามัธมศึกษา
นครราชสีมา กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 347 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครจขี่และมอร์
ส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีระดับความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.72 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน F-test และ t-test
ผลการวิจัยพบว่า
1. การบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษานครราชสีมา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านที่
ค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการบริหารงานบุคคล รองลงมา ได้แก่ ด้านการบริหารงานวิชาการ และด้าน
การบริหารงานงบประมาณ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดได้แก่ ด้านการบริหารงานทั่วไป
2. การเปรียบเทียบการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาชั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตามตำแหน่ง ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และ
ขนาดของถานศึกษา
2.1 การเปรียบเทียบการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตามตำแหน่ง พบว่า โดยรวมและราย
ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นด้านการบริหารงานบุคคลที่ไม่แตกต่าง
กัน
22 การเปรียบเพืยบการบวิหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาชั้นพื้นฐาน สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตามประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน
พบว่า โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตาม
ตำแหน่ง ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และขนาดของสถานศึกษา ประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร
สถานศึกษาและครูผู้สอนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาษามัธมศึกษา
นครราชสีมา กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 347 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครจขี่และมอร์
ส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีระดับความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.72 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน F-test และ t-test
ผลการวิจัยพบว่า
1. การบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษานครราชสีมา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านที่
ค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการบริหารงานบุคคล รองลงมา ได้แก่ ด้านการบริหารงานวิชาการ และด้าน
การบริหารงานงบประมาณ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดได้แก่ ด้านการบริหารงานทั่วไป
2. การเปรียบเทียบการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาชั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตามตำแหน่ง ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และ
ขนาดของถานศึกษา
2.1 การเปรียบเทียบการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตามตำแหน่ง พบว่า โดยรวมและราย
ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นด้านการบริหารงานบุคคลที่ไม่แตกต่าง
กัน
22 การเปรียบเพืยบการบวิหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาชั้นพื้นฐาน สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตามประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน
พบว่า โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2.3 การเปรียบเทียบการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำแนกตามขนาดสถานศึกษา พบว่า โดยรวม
ไม่ต่างกัน ยกเว้นด้านการบริหารงานบุคคลและด้านการบริหารงานทั่วไปแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05

เอกสารฉบับเต็ม (Full)



เฉพาะสมาชิกเท่านั้น