การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของบุคลากรต่อ การบริหารงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐของโรงเรียนเอกชนในระบบ จังหวัต นครราชสีมา จำแนกตามตำแหน่งหน้าที่ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้าน งบประมาณ และเพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ของ โรงเรียนเอกชนในระบบ จังหวัตนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรสังกัดโรงเรียนเอกชนใน ส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC 0.80 - 1.00 ค่าความเชื่อมั่น 0.72 และแบบสัมภาษณ์แบบมี โครงสร้าง สถิติวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ คำเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า ที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเตียว ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารรประมาแที่ได้รับการสนับในกันจากการหน้าหรืองโรษเลกชนในรถไมระรรรระบทองงงงอ จังหวัดนครราชเต็มา โดยรวมอยูในระดับมากและรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบการบริหารงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ของโรงเรียนเอกชนในระบบของจังหวัดนครราชสีมา เมื่อจำแนกตามตำแหน่งหน้าที่ และ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต้านงบประมาณพบว่าไม่แตกต่างกัน และเมื่อจำแนกตามระดับ การศึกษาพบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติดิที่ระดับ .05 3. แนวทางการบริหารรบประมาแต่ได้รับการสนับสนุนจากจากภาครัฐของโรงเรียนเอกชนใน ระบบของจังหวัดนครราชสีมาพบว่า สถานศึกษามีวิธีจัดระเบียบและจัดการเงิน มีการจัดสรร งบประมาณที่เน้นผลผลิตและต้นทุนของผลผลิต มีระบบการจัดซื้อจัดจ้างตามขั้นตอน รัดกุม โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ มีเอกสารทางการบัญชีแยกประเภท ใช้ทรัพย์สินอย่างคุ้มค่า และมีการ ตรวจสอบภายใน |